ระบบการเลือกตั้งของ สหรัฐอเมริกา

ตอบกลับโพส
ภาพประจำตัวสมาชิก
ple
Administrator
โพสต์: 1774
ลงทะเบียนเมื่อ: 31 ธ.ค. 2013 11:54
ที่อยู่: 55/126 หมู่บ้านโกลเดนอเวนิว ซอยประชาสุขสรรค์3 ถนนติวานนท์ นนท์บุรี
ติดต่อ:

ระบบการเลือกตั้งของ สหรัฐอเมริกา

โพสต์ โดย ple »

ระบบการเลือกตั้งของ สหรัฐอเมริกา
ภาพประจำตัวสมาชิก
ple
Administrator
โพสต์: 1774
ลงทะเบียนเมื่อ: 31 ธ.ค. 2013 11:54
ที่อยู่: 55/126 หมู่บ้านโกลเดนอเวนิว ซอยประชาสุขสรรค์3 ถนนติวานนท์ นนท์บุรี
ติดต่อ:

Re: ระบบการเลือกตั้งของ สหรัฐอเมริกา

โพสต์ โดย ple »

ลำดับที่ของประธานาธิบดี ของ อเมริกา(45คน)

รายนามประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา


พรรค : ไม่สังกัดพรรค เฟเดอรัลลิสต์ เดโมเครติก-ริพับลิกัน เดโมแครต วิก ริพับลิกัน


#

ชื่อ

เริ่มวาระ

สิ้นสุดวาระ

พรรค

รองประธานาธิบดี

วาระ

1 จอร์จ วอชิงตัน
[2][3][4][5]
(George Washington) George-Washington.jpg 30 เมษายน พ.ศ. 2332 4 มีนาคม พ.ศ. 2340 ไม่มี จอห์น แอดัมส์
(John Adams) 1
2
2 จอห์น แอดัมส์
[6][7][8][9]
(John Adams) Johnadams.jpg 4 มีนาคม พ.ศ. 2340 4 มีนาคม พ.ศ. 2344 เฟเดอรัลลิสต์ ทอมัส เจฟเฟอร์สัน
(Thomas Jefferson) 3
3 ทอมัส เจฟเฟอร์สัน
[10][11][12][13]
(Thomas Jefferson) 02 Thomas Jefferson 3x4.jpg 4 มีนาคม พ.ศ. 2344 4 มีนาคม พ.ศ. 2352 เดโมเครติก-ริพับลิกัน แอรอน เบอร์
(Aaron Burr) 4
จอร์จ คลินตัน
(George Clinton) 5
ภาพประจำตัวสมาชิก
ple
Administrator
โพสต์: 1774
ลงทะเบียนเมื่อ: 31 ธ.ค. 2013 11:54
ที่อยู่: 55/126 หมู่บ้านโกลเดนอเวนิว ซอยประชาสุขสรรค์3 ถนนติวานนท์ นนท์บุรี
ติดต่อ:

Re: ระบบการเลือกตั้งของ สหรัฐอเมริกา

โพสต์ โดย ple »

ระบบการเลือกตั้งของ สหรัฐอเมริกา

"ระบบการเลือกตั้งประธานาธิบดีสหรัฐ เป็นเรื่องที่ซับซ้อนและเข้าใจยาก ไม่เฉพาะแต่กับคนต่างชาติเท่านั้น คนอเมริกันเองก็ยอมรับว่าน่าปวดหัว การเลือกตั้งจะมีความซับซ้อนอย่างไรไปติดตามพร้อมกัน"
อ่านต่อที่: http://www.nationtv.tv/main/content/foreign/378522932/

www.nationtv.tv/main/content/foreign/378522932/

<iframe src='http://www.nationtv.tv/main/home/bright ... 1590115001' allowfullscreen frameborder=0></iframe>

http://www.nationtv.tv/main/home/bright ... yer_iframe
ภาพประจำตัวสมาชิก
ple
Administrator
โพสต์: 1774
ลงทะเบียนเมื่อ: 31 ธ.ค. 2013 11:54
ที่อยู่: 55/126 หมู่บ้านโกลเดนอเวนิว ซอยประชาสุขสรรค์3 ถนนติวานนท์ นนท์บุรี
ติดต่อ:

Re: ระบบการเลือกตั้งของ สหรัฐอเมริกา

โพสต์ โดย ple »

Nation TV - เว็บไซต์สถานีข่าวอันดับ 1 ของเมืองไทย
"ตามระบบการเลือกตั้งประธานาธิบดีของสหรัฐ แม้ประชาชนจะเป็นผู้ออกไปใช้สิทธิเลือกประธานาธิบดี หรือที่เรียกกันว่า ป๊อปปูลาร์โหวต ซึ่งได้แก่ประชาชนที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไป แต่คะแนนเสียงที่เป็นตัวตัดสินผลแพ้ชนะ คือ คะแนนเสียงจากคณะผู้เลือกตั้ง หรือ อิเล็คทอรัล คอลเลจ ซึ่งมีอยู่ทั้งหมด 538 เสียง เท่ากับจำนวนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร 435 เสียง รวมกับสมาชิกวุฒิสภา 100 เสียง บวกกับอีก 3 เสียงพิเศษ ในดิสทริค ออฟ โคลัมเบีย หรือกรุงวอชิงตัน ดีซี. เมืองหลวงของสหรัฐทั้งนี้ เป็นเพราะความสลับซับซ้อนของกระบวนการเลือกตั้ง ซึ่งชิงชัยกันในแต่ละรัฐ ด้วยระบบ "วินเนอร์ เทค ออล" กล่าวคือ ผู้สมัครที่มีคะแนนเสียงป๊อปปูลาร์โหวตเหนือกว่าในรัฐใดรัฐหนึ่ง จะได้คะแนนเสียงคณะผู้เลือกตั้งในรัฐนั้นไปทั้งหมด แม้ว่าคะแนนเสียงป๊อปปูลาร์โหวต จะชนะกันอย่างคู่คี่สูสีก็ตามขณะเดียวกัน คะแนนเสียงคณะผู้เลือกตั้งในแต่ละรัฐ ก็มีไม่เท่ากัน ทำให้ความสำคัญในการแพ้-ชนะในแต่ละรัฐ แตกต่างกันไป โดยผู้ที่ได้คะแนนเสียงดีกว่าในรัฐใหญ่ๆ ก็มีโอกาสคว้าชัยชนะมากกว่า หากพรรคใดสามารถครองเสียงคณะผู้เลือกตั้งเกินกว่า 270 เสียงหรือกึ่งหนึ่งของจำนวนคณะผู้เลือกตั้งทั้งหมด ผู้สมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐจากพรรคนั้นก็จะได้รับเลือกเป็นผู้นำสหรัฐคนต่อไปตามกำหนดการแล้ว คณะผู้เลือกตั้งทั้ง 538 คนจะต้องลงคะแนนเสียงเลือกประธานาธิบดีสหรัฐ ภายใน 30 วันหลังวันเลือกตั้ง และจะส่งผลการลงคะแนนเสียงไปยังกรุงวอชิงตัน เพื่อเปิดนับในรัฐสภา ก่อนจะประกาศชื่อผู้ได้รับชัยชนะในที่สุดแต่ในกรณีที่ผู้สมัครจากพรรคเดโมแครตและรีพับลิกันได้รับคะแนนสนับสนุนจากคณะผู้เลือกตั้ง 269 เสียงเท่ากัน ซึ่งสถานการณ์แบบนี้ เคยเกิดขึ้นมาแล้ว เมื่อปี 2343 เมื่อโธมัส เจฟเฟอร์สัน ได้คะแนนเสียงได้คะแนนเสียงคณะผู้เลือกตั้ง เท่ากับแอรอน เบอร์ พอดี ตามรัฐธรรมนูญสหรัฐ ฉบับแก้ไขครั้งที่ 12 ให้อำนาจสภาผู้แทนราษฎรเลือกประธานาธิบดีสหรัฐ และให้วุฒิสภาเลือกรองประธานาธิบดี ซึ่งตามกติกา แล้ว หากผู้สมัครจากพรรคใด ได้เสียงสนับสนุนจากสส.เกินกว่า 25 รัฐ หรือกึ่งหนึ่งจากทั้งหมด 50 รัฐ ผู้สมัครจากพรรคนั้นก็จะได้รับเลือกเป็นประธานาธิบดี และรองประธานาธิบดีและมีความเป็นไปได้ว่าผู้สมัครที่ได้รับชัยชนะป๊อปปูลาร์โหวต แต่พ่ายแพ้คะแนนอิเลคทอรัลโหวต โดยครั้งสุดท้ายที่ผู้สมัครชิงตำแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐซึ่งปราชัยในส่วนคะแนนป๊อปปูลาร์โหวต กลับเป็นฝ่ายคว้าชัยชนะเพราะได้อิเลคทอรัลโหวตมากกว่า เกิดขึ้นปี 2543 เมื่อจอร์จ ดับเบิลยู บุช จากพรรครีพับลิกัน ชนะการเลือกตั้งได้เป็นประธานาธิบดีคนใหม่ แม้จะพ่ายแพ้คะแนนป๊อบปูลาร์ โหวต ให้แก่ อัล กอร์จากพรรคเดโมแครตสำหรับถามที่ว่า ทำไมรัฐธรรมนูญสหรัฐจึงกำหนดให้ประชาชนเลือกผู้นำประเทศผ่านคณะผู้เลือกตั้ง คำตอบก็คือในช่วงเริ่มร่างรัฐธรรมนูญเมื่อกว่า 200 ปีที่แล้วนั้น บรรดาผู้ร่างรัฐธรรมนูญ ยังไม่ไว้ใจว่าประชาชนทั่วไปที่ส่วนใหญ่การศึกษาไม่สูงอาจจะไม่มีวิจารณญาณเพียงพอในการเลือกผู้นำ อาจได้คนไม่ดี เพราะมองว่านักการเมืองมักไม่ใช่คนดีที่น่าวางใจ จึงต้องมอบหมายให้คณะผู้เลือกตั้งซึ่งเป็นผู้มีการศึกษาหรือปัญญาชนไปทำหน้าที่เลือกแทน อีกเหตุผลหนึ่งคือแต่ละรัฐต้องการถ่วงดุลอำนาจของตนเองกับรัฐบาลกลาง แต่ตอนนี้ก็มีเสียงเรียกร้องให้ยกเลิกระบบการเลือกตั้งดังกล่าว เพราะทำให้ได้ผู้นำที่ไม่ได้มาจากเสียงส่วนใหญ่ในกรณีที่พ่ายป็อบปูลาร์โหวต"
อ่านต่อที่: http://www.nationtv.tv/main/content/foreign/378522932/
ภาพประจำตัวสมาชิก
ple
Administrator
โพสต์: 1774
ลงทะเบียนเมื่อ: 31 ธ.ค. 2013 11:54
ที่อยู่: 55/126 หมู่บ้านโกลเดนอเวนิว ซอยประชาสุขสรรค์3 ถนนติวานนท์ นนท์บุรี
ติดต่อ:

Re: ระบบการเลือกตั้งของ สหรัฐอเมริกา

โพสต์ โดย ple »

สว.อเมริกันมาจากการเลือกตั้งมีวาระการดำรงตำแหน่ง 6 ปี มีจำนวน 100 คน มาจากรัฐละ 2 คน ไม่ว่าจะขนาดไหน ประธานวุฒิสภาแบบเป็นพิธีการคือรองประธานาธิบดี

หน้าที่ก็คือการกลั่นกรองกฎหมายและออกกฎหมาย แต่หน้าที่อันโดดเด่นของสว.ก็คือการรับรองการแต่งตั้งเจ้าหน้าที่ระดับสูงของประธานาธิบดี เช่น รัฐมนตรี ผู้พิพากษา เอกอัครราชทูต ผู้ว่าการธนาคารกลาง ไม่ใช่แต่งตั้ง และคณะกรรมการของวุฒิสภาก็มีอำนาจมากสามารถทำการไตร่สวนและเรียกให้เจ้าหน้าที่ทุกระดับตั้งแต่ประธานาธิบดีลงมามาให้การได้

สังคมอเมริกันถึงแม้จะยกย่องวุฒิสมาชิกมากกว่า สส. น่าสนใจว่าสว.หลายคนต่อมาก็ได้เป็นประธานาธิบดีอย่างเช่นเคนนาดีและโอบามา

เพราะว่า สว. มีแค่ 100 คนทั้งประเทศ (รัฐละ 2 คน เท่ากัน ไม่ว่าจะรัฐคนเยอะหรือรัฐคนน้อย)
ขณะที่ สส. ทั้งประเทศมี 400 กว่าคน (รัฐๆนึงมี สส.ได้หลายๆคน บางรัฐหลักสิบ)

ในเมื่อจำนวนประชากรเท่ากันแต่เลือก สว. ได้แค่ 2 คน แต่เลือกสส.ได้หลักสิบคน อำนาจและศักดิ์ศรี สว. ก้อต้องมากกว่า สส.
ถือว่าเสียงปชช.แบ้กอัพ สว. แต่ละคนเยอะกว่าของ สส.

ถ้าใครถามว่า แล้วทำไมไม่รวม สส.กะ สว. ด้วยกันเลยล่ะ ในเมื่อมาจากเลือกตั้งและมีสิทธิออกกฏหมายได้เหมือนกัน
คำตอบคือ ระบบสหรัฐเค้าต้องการให้มีการคานอำนาจเท่ากันๆระหว่างแต่ละรัฐ จะรัฐคนเยอะหรือรัฐคนน้อย เสียงของ สว. ในสภาจะสู้กันได้

ถ้าอิงเสียงประชาชนส่วนใหญ่อย่างเดียว รับรองได้ว่า สส.ที่มาจากรัฐคนเยอะๆเช่นแคลิฟอร์เนียจับมือนิวยอร์คจับมืออิลลินอย์จับมือฟลอริดา แค่ สส. จาก7-8รัฐนี้ก้อมีเสียงครึ่งของสส.แล้ว กฏหมายที่ออกมาก้อจะเอื้อแต่คนในรัฐพวกนี้และอาจเอาเปรียบรัฐเล็กรัฐน้อยเสมอ

สว.จึงเป็นอีกด่านถัดมาที่คอยสกัดกั้นกฏหมายแบบนั้น และยังออกกฏมายสนองรัฐเล็กๆได้ เพราะจำนวนรัฐเล็กๆมีเยอะกว่ารัฐใหญ่ๆ (ประมาณ 30 จาก 50 รัฐ) สว.รัฐเล็กๆรวมมือกันก้อเสียงดังกว่า สว.รัฐใหญ่ๆรวมกัน

นี่คือ ระบบถ่วงดุลกันระหว่างรัฐ ที่เราเรียกว่า "สหรัฐ"อเมริกา
ภาพประจำตัวสมาชิก
ple
Administrator
โพสต์: 1774
ลงทะเบียนเมื่อ: 31 ธ.ค. 2013 11:54
ที่อยู่: 55/126 หมู่บ้านโกลเดนอเวนิว ซอยประชาสุขสรรค์3 ถนนติวานนท์ นนท์บุรี
ติดต่อ:

Re: ระบบการเลือกตั้งของ สหรัฐอเมริกา

โพสต์ โดย ple »

ประวัติ "ทรัมป์" และ "เมลาเนีย" ประธานาธิบดี และ สตรีหมายเลข1 ของสหรัฐอเมริกา
https://youtu.be/2AaGsg8jUUw
2AaGsg8jUUw
ภาพประจำตัวสมาชิก
ple
Administrator
โพสต์: 1774
ลงทะเบียนเมื่อ: 31 ธ.ค. 2013 11:54
ที่อยู่: 55/126 หมู่บ้านโกลเดนอเวนิว ซอยประชาสุขสรรค์3 ถนนติวานนท์ นนท์บุรี
ติดต่อ:

Re: ระบบการเลือกตั้งของ สหรัฐอเมริกา

โพสต์ โดย ple »

รูปภาพ
ทำความเข้าใจเรื่อง electoral vote กับ Popular Vote ก่อนครับ

เอาง่ายๆ ยกตัวอย่าง สมมุติ เหมือนกรณีบ้านเรา
พรรคที่ได้จำนวน สส มากสุด คือผู้ชนะ ได้จัดตั้งรัฐบาล
เเม้ว่าถ้าดูผลคะเเนนรวมจากทั้งประเทศ อาจน้อยกว่าพรรคที่ได้ที่สองอยู่นิดหน่อย
( จำนวน สส เเต่ละเขตขึ้นกับจำนวนประชากร ซึ่งไม่เท่ากันทุกเขต )

แต่กติกาของบ้านเรา คือ ยึดจำนวน สส ที่ได้เป็นเกณฑ์
( ส่วนในอเมริกา ใช้ electoral vote ) เป็นเกณฑ์ครับ

อย่าลืมว่า ระบบการเลือกตั้ง คือการเลือกตัวเเทนของประชาชน
เข้ามาทำหน้าที่เเทนในสภา เช่นยกมือ ผ่าน หรือ ไม่ผ่าน กฎหมาย

เพราะเราไม่อาจเอาประชาชนทุกคน เข้าสภามายกมือเองได้ครับ
นั่นคือเหตผลว่า ทำไมบ้านเราจึงยึดจำนวน สส ที่มากกว่า
ซึ่งเป็นตัวเเทนที่ได้รับการคัดเลือกเเล้ว จากประชาชนเจ้าของประเทศ

แล้วจะมีการเลือกประธานาธิบดีทำไมระครับ เพราะยังไงก็ดูจากจำนวน สส อยู่แล้ว

การเลือกตั้ง ปธน ของอเมริกา
เค้าใช้ระบบเลือกผ่านตัวเเทนของพรรคในเเต่ละรัฐครับ
เเละพรรคเอง ก็มีตัวเเทนที่เสนอชื่อลงเเข่งเป็น ปธน ก่อนเเล้ว

ซึ่งตัวเเทนพรรค ที่จะลงเเข่ง ปธน ก็ต้องผ่านการโหวตเลือก
จากตัวเเทนในเเต่ละรัฐมาก่อนเเล้วชั้นนึงเหมือนกัน เรียกไพรมารี่โหวต
คือโหวตเลือกคนที่เป็นตัวเเทนพรรคจะลงชิง ตำเเหน่ง ปธน
ซึ่งทั้งฮิลลารี่ เเละทรัมป์ ได้ผ่านการโหวตในชั้นนี้มาเเล้ว จากในพรรคของตัวเอง
( เรียกว่าในชั้นนี้ ทั้งฮิลลารี่ เเละทรัมป์ จะต้องผ่านการต่อสู้
กับคนในพรรคของตัวเองก่อน เพื่อจะได้เป็นตัวเเทนพรรค ลงชิง ตำเเหน่ง ปธน )

ส่วนที่เพิ่งเลือกไปเมื่อวาน
คือเลือกเพื่อตัดสินจาก Electoral vote ในเเต่ละรัฐ ว่าฝ่ายไหนได้โหวตเยอะสุด ..........

ลองอ่านศึกษาเพิ่มเติมดูนะครับ
http://www.ostc.thaiembdc.org/test2012/stnews_Nov12_6
ภาพประจำตัวสมาชิก
ple
Administrator
โพสต์: 1774
ลงทะเบียนเมื่อ: 31 ธ.ค. 2013 11:54
ที่อยู่: 55/126 หมู่บ้านโกลเดนอเวนิว ซอยประชาสุขสรรค์3 ถนนติวานนท์ นนท์บุรี
ติดต่อ:

Re: ระบบการเลือกตั้งของ สหรัฐอเมริกา

โพสต์ โดย ple »

อธิบายระบบการเลือกตั้งของสหรัฐฯ


ที่มา: CGPGrey (http://youtu.be/_95I_1rZiIs)
Commoncraft (http://youtu.be/ok_VQ8I7g6I)
http://www.infoplease.com/askeds/donkey-elephant.html


ทุกๆ 4 ปี ประชาชนชาวอเมริกามีหน้าที่ที่สำคัญในการออกเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดีคนต่อไปของประเทศสหรัฐอเมริกา แต่ระบบการเลือกตั้งของสหรัฐอเมริกานั้นซับซ้อนกว่าของประเทศอื่นๆ ที่ส่วนใหญ่ประชากรทุกคนของประเทศสามารถออกเสียงเลือกผู้สมัครที่ต้องการเพื่อเป็นประธานาธิบดี หรือนายกรัฐมนตรีได้โดยตรง แต่การเลือกตั้งประธานธิบดีของ สหรัฐฯ เป็นการออกเสียงทางอ้อม โดยสามารถอธิบายได้ดังนี้


1. เริ่มต้นจากในแต่ละรัฐจะมีการจัดการเลือกตั้งย่อยเพื่อหาตัวแทนของพรรคเพื่อเข้าชิงตำแหน่งประธานาธิบดี


2. ในแต่ละรัฐจะมีคณะผู้เลือกตั้ง หรือ Electoral College ซึ่งจะเป็นตัวแทนในการออกเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดีแทนประชาชนในรัฐนั้นๆ โดยจำนวนคณะผู้เลือกตั้งของแต่ละรัฐจะมาจากตัวแทนตามจำนวนของเขตการปกของ (district) ของแต่ละรัฐ และ คณะวุฒิสภาอีก 2 คน เช่น มลรัฐแคลิฟอร์เนียมี 53 เขตการปกครอง คณะผู้เลือกตั้งของมลรัฐแคลิฟอร์เนียจึงมี 55 คน (53 + 2) คณะผู้เลือกตั้งจากทุกรัฐรวมทั้งสิ้น 538 คน (มาจากตัวแทนตามจำนวนเขตการปกครอง 438 คน + วุฒิสภา 100 คน)


3. เมื่อมาถึงวันอังคารแรกหลังจากวันจันทร์แรกของเดือนพฤศจิกายนของทุกๆ 4 ปี ประชาชนที่มีสิทธิออกเสียงเลือกตั้งก็จะไปที่ศูนย์เลือกตั้งเพื่อเลือกผู้สมัครตำแหน่งประธานาธิบดีที่ตนชอบ เช่น ในการเลือกตั้งในวันที่ 6 พ.ย. 2555 ที่ผ่านมานี้ ประชาชนสามารถเลือก บารัค โอบามา มิตต์ รอมนีย์ และผู้สมัครจากพรรคเล็กอื่นๆ อีก 2 ท่าน


4. การออกเสียงของประชาชนเป็นการแสดงเจตนาแก่คณะผู้เลือกตั้งในรัฐของตนว่าอยากจะให้คณะผู้เลือกตั้งออกเสียงเลือกตั้งไปในทิศทางใด ในหนึ่งรัฐ ไม่ว่าผู้ชิงตำแหน่งประธานาธิบดีที่ได้รับเสียงข้างมากจะได้เสียงมากกว่าผู้สมัครคนอื่นๆ มากน้อยแค่ไหน เสียงของคณะผู้เลือกตั้งในรัฐนั้นๆ ทั้งหมดก็จะไปที่ผู้ลงสมัครผู้นั้น ดังนั้น รัฐที่มีจำนวนประชากรหรือเขตการปกครองเยอะกว่า ก็จะมีมีจำนวนเสียงของคณะผู้เลือกตั้งมากกว่า ทำให้รัฐต่างๆ มีความสำคัญต่อผลการเลือกตั้งมากกว่า


5. เป้าหมายของผู้ลงสมัครในวันเลือกตั้งคือ ผู้สมัครจะต้องได้เสียงจากคณะเลือกตั้งให้ได้มากกว่าครึ่งหนึ่ง(ของ 538 เสียง) หรือ 270 เสียง หากผู้สมัครคนใดได้ 270 เสียงก่อนผู้นั้นก็เป็นผู้ชนะ ทั้งนี้ผลจากการเลือกตั้งในเดือนพฤศจิกายน เป็นการคำนวนจากการคำนวนเสียงของคณะผู้เลือกตั้งของแต่ละรัฐที่จะไปยังผู้สมัครคนนั้นๆ ประชาชนสามารถทราบผลอย่างไม่เป็นทางการหลังจากการเปิดการเลือกตั้งประมาณ 12 ชม. หรือเมื่อมลรัฐแคลิฟอร์เนียซึ่งเป็นรัฐสุดท้ายนับคะแนนเสร็จสิ้น


6. ขั้นตอนต่อไปเป็นการเลือกตั้งของคณะผู้เลือกตั้งและเป็นการออกเสียงเลือกตั้งประธานาธิบดีอย่างเป็นทางการ หรือ National Convention โดยคณะผู้เลือกตั้งจะมารวมตัวกัน เพื่อออกเสียงเลือกผู้สมัครที่ประชาชนข้างมากในรัฐของตนเลือกไว้ แม้ว่าในประวัติศาสตร์ ยังไม่มีการเลือกตั้งครั้งใดที่ผลเลือกตั้งอย่างเป็นทางการจะพลิกผันจากผลการเลือกตั้งในเดือนพฤศจิกายนแต่ก็ควรระลึกไว้เสมอว่า คณะผู้เลือกตั้งมีสิทธิเสรีในเลือกผู้สมัครซึ่งอาจจะเป็นคนเดียวกันกับที่ประชาชนต้องการหรือไม่ก็ได้


7. และวันที่ 20 มกราคม 2556 หรือ Inauguration Day เป็นวันที่ประธานาธิบดีขึ้นรับตำแหน่งและเริ่มปฏิบัติหน้าที่ในตำแหน่งประธานาธิบดีอย่างเป็นทางการ



เกร็ดความรู้อื่นๆ เกี่ยวกับการเลือกตั้งประธานาธิบดีที่น่าสนใจ

ชาวอเมริกันในเขต Territories

ผู้ที่อาศัยอยู่ใน Territories หรือ เขตอาณาเขตปกครองของสหรัฐฯ (หมู่เกาะอเมริกันซามัว กวม หมู่เกาะนอร์เทิร์นมาเรียนา เปอร์โตริโกและหมู่เกาะเวอร์จินของสหรัฐอเมริกาจะไม่มีสิทธิในการเลือกตั้งเพราะเขตดังกล่าวไม่จัดเป็นรัฐของสหรัฐฯ จึงพูดได้ว่าเกาะเหล่านี้ถือเป็นแห่งเดียวในจักรวาลที่ไม่มีสิทธิเลือกตั้ง นั่นเป็นเพราะแม้แต่ประชาชนสหรัฐฯ ที่อยู่ในต่างประเทศ หรือแม้แต่ในอวกาศก็ยังสามารถใช้สิทธิเลือกตั้งของตนโดยใช้ไปรษณีย์หรือจากอวกาศได้

Popular Vote vs. Electoral Vote

Popular vote คือคะแนนที่นับจากคะแนนเสียงของประชาชนจริงๆ ไม่มีผลทางกฎหมาย แต่สามารถแสดงให้เห็นว่าความนิยมของประชาชนที่แท้จริงเป็นอย่างไร เช่น ในการเลือกตั้ง 2012 โอบามาได้รับ303 Electoral Vote และรอมนี่ได้รับ 206 Electoral Vote ซึ่งดูเหมือนจะห่างกันมาก แต่่คะแนน Popular vote ค่อนข้างใกล้เคียง คือ 50.4% และ 48% ซึ่งแสดงให้เห็นว่าแท้จริงแล้วประชาชนอีกเกือบครึ่งหนึ่งที่ไม่สนับสนุนโอบามา

ช้าง vs. ลา
ทำไมสัญลักษณ์ของพรรคการเมือง Democrat และ Republican ถึงต้องเป็นช้างกับลา? ที่มาของเรื่องนี้มาจากในสมัยที่ Andrew Jacksonลงสมัครรับเลือกตั้งโดยใช้สโลแกนว่า Let?s the people rule ทำให้พวกนักหนังสือพิมพ์เปรียบเขาเหมือนกับลา ซึ่ง Andrew กลับชอบฉายานี้และนำเอาสัญลักษณ์รูปลาในการหาเสียงเลือกตั้ง ซึ่งต่อมานักหนังสือพิมพ์ชื่อว่า Thomas Nast ได้นำเอาสัญลักษณ์รูปลามาเป็นสัญลักษณ์ของ พรรค Democrat ส่วนสัญลักษณ์รูปช้างเกิดมาจากการที่นาย Thomas วาดการ์ตูนล้อเลียน โดยใช้ช้างเป็นสัญลักษณ์ของพรรค Republican ซึ่งก็ได้กลายมาเป็นสัญลักษณ์อย่างไม่เป็นทางการของพรรคในเวลาต่อมา

presidential election
สส.ไม่ได้เป็นคนเลือก ปธน นะครับ
ภาพประจำตัวสมาชิก
ple
Administrator
โพสต์: 1774
ลงทะเบียนเมื่อ: 31 ธ.ค. 2013 11:54
ที่อยู่: 55/126 หมู่บ้านโกลเดนอเวนิว ซอยประชาสุขสรรค์3 ถนนติวานนท์ นนท์บุรี
ติดต่อ:

Re: ระบบการเลือกตั้งของ สหรัฐอเมริกา

โพสต์ โดย ple »

อยากรู้จัง ว่าเขามีวิธีการตรวจสอบหรือป้องกันการแฮ็กข้อมูลได้มากน้อยแค่ไหน

จะเป็นไปได้ไหมว่ามีการแอบเข้าไป แล้วก็โยนข้อมูลของอีกฝ่าย ไปให้อีกฝ่าย




ตอบกลับ


0

0


สมาชิกหมายเลข 3498100
8 ชั่วโมงที่แล้ว [IP: 110.168.67.116]











ความคิดเห็นที่ 2-1







^
การขโมยข้อมูล มันใช้ได้แค่ครึ่งเดียวครับ
เรื่องพฤติกรรมของคน สารพัดเรื่องตั้งข้อสังเกตุกันได้ทั้งนั้น
----------------------------------------------------

กรณีความผิดจังๆ ถ้าเรื่องไม่ใหญ่โต นักการเมืองเขาไม่ปล่อยให้เสียชื่อยาวหรอก
รับสารภาพ ถูกลงโทษกันไปพอหอมปากหอมคอ

แล้วเอาข้อมูลไปใช้ยังไง ก็ใช้แบบต่อเติมเสริมแต่ง ตั้งข้อสังเกตุต่างๆนานา
มันก็น่าเชื่อถืออยู่นิดๆ เพราะมีมูลความจริงอยู่ด้วยครึ่งหนึ่งไง

ส่วนที่ยังไม่แน่ก็ให้คนเสพสื่อจินตนาการเอาเอง แล้วมันจะคิดไปทางไหนได้อีกละ ในเมื่อถูกไกด์ทิศทางใว้เรียบร้อยแล้ว
ผลคือ คนเสพสื่อก็สงสัย หวาดระแวง เพราะมันมีเรื่องค้างคาใจเยอะไป
แต่ทำไมจึงหวาดระแวง อันนี้คนที่เสพสื่อจนชาชิน ยากที่จะแยกแยะอารมณ์ตัวเองออกนะครับ

สุดท้ายกลายเป็นเหยื่อของสื่อไป




ตอบกลับ


0

0


สมาชิกหมายเลข 3205841
7 ชั่วโมงที่แล้ว










ความคิดเห็นที่ 2-2







หมายถึงแฮ๊กผลการเลือกตั้งนะครับ ทางเมกาเขามีการป้องกันอย่างไร?

เพราะเคยดูในหนังฝรั่งอย่างเช่น Heros ก็มี อะไรเหล่านี้ เลยคิดว่าปัจจุบันนี้มันสามารถหรือมีการทำการแฮ๊กผลข้อมูลได้หรือไม่นะสิคับ แฮ๊กเกอร์เก่งๆ ก็มีเพียบเลยไม่ใช่เหรอ ทั้งในฝั่งรัสเซีย จีน หรือเกาหลีเหนือ




ตอบกลับ


0

0


สมาชิกหมายเลข 3498100
4 ชั่วโมงที่แล้ว [IP: 110.168.67.116]











ความคิดเห็นที่ 3







ระบบเลือกตั้งคล้ายๆกับบ้านเราครับ
เลือก สส เป็นตัวแทนพรรค เอาเสียงข้างมากเป็นหลัก




ตอบกลับ


0

0


donnie
7 ชั่วโมงที่แล้ว













ความคิดเห็นที่ 4







มันคือ winner takes all ง่ายๆคือ ถ้ารัฐนั้นมีตัวแทน 20 คน ปชชในรัฐเลือกทรัมป์ 51% เลือกฮิลารี่ 49%
ตัวแทนทั้ง 20 คน จะเป็นเสียงของทรัมป์(ผู้ชนะของรัฐ)ทันที
เลยทำให้คนที่ได้ popular vote อาจจะไม่ได้เป็นประธานาธิบดีก็ได้

อันนี้คือที่เราเข้าใจ




ตอบกลับ


0

1


BeautieBroken
7 ชั่วโมงที่แล้ว




Archery Rookies ถูกใจ








ความคิดเห็นที่ 5







คิดง่ายๆ แต่ละรัฐมีคะแนนไม่เท่ากันตามจำนวนที่นั่งในสภา อย่าง California รัฐใหญ่มี 55. คะแนนหรือที่นั่ง Pennsylvania มี 20 คะแนน ใครได้ 270 หรือเกินครึ่งก็ชนะเลือกตั้งไป

แต่ละรัฐนั้นแต่ละฝ่ายก็จะบุกทำแคมเปญมีกลยุทธ์ต่างกัน การจะชนะก็คือต้องไปเจาะรัฐของฝ่ายตรงข้ามให้ได้ก็จะมีสิทธิ์มากขึ้น อย่าง Michigan ที่ปกติคนสนับสนุน Democrat ทรัมป์ก็ไปพูดจนเปลี่ยนมาเลือก Republican ได้ ผู้สมัครและพรรคต้องวางแผนอย่างมากเพราะว่าคงไปทุกรัฐไม่ได้ ต้องคิดวางแผนดีๆว่าจะชิงรัฐไหน รัฐไหนที่สนับสนุนพรรคตนเองอยู่แล้วแน่ๆก็อาจจะไม่ต้องอะไรมาก ไปเน้นรัฐที่เรียกว่าเป็น สนามต่อสู้หรือ Battleground ครับ




ตอบกลับ


0

0


พี่หมีขั้วโลก
7 ชั่วโมงที่แล้ว













ความคิดเห็นที่ 6







ลองคิดตามผมนะ คนที่จะได้เป็น ปธน.ของเมกาคือคนที่ได้ คะแนนของคณะผู้เลือกตั้งมากสุด ไม่ใช่คะแนนจากป๊อบปูล่าโวต ยกตัวอย่าง สมมุติ รัฐA B C มีคะแนนอิเลคโทรัลโวตรัฐละ10เสียง รัฐaมีคนเลือกคลินตัน65000คนเลือกทรัมส์35000คน รัฐนี้คลินตันก็จะได้คะแนนอิเลคโทรัลไป10คะแนน(ใครชนะจะได้คะแนนทั้งหมด)ส่วนรัฐBคลินตันมีคนเลือก49000ทรัมส์มีคนเลือก51000รัฐนี้ทรัมส์ก็ได้คะแนนอิเลคทอรัลไป10คะแนน ส่วนรัฐcคลินตันมีคนเลือก45000ทรัมส์มีคนเลือก55000 ทรัมส์ก๋ได้คะแนนอิเลคทอรัลไปอีก10คะแนน เมื่อมารวม3รัฐคะแนนป๊อบปูล่าของคลินตันจะได้ 159000ได้คะแนนอิเลคทอรัลที่ชนะจากรัฐa10คะแนน ส่วนทรัมส์ได้คะแนนป๊อบปูล่า 141000คะแนน แต่ได้คะแนนอิเลคทอรัลโวตจากรัฐbและcที่ชนะ20คะแนน ดังนั้นถ้ามองอย่างนี้จึงเห็นภาพได้ว่า ถึงแม้คลินตันจะมีคะแนนป๊อบปูล่าโวตหรือคะแนนที่ปชช.ชนเลือกให้มากกว่าทรัมส์ แต่คลินตันกับมีคะแนนอิเลคทอรัลโวตน้อยกว่าทรัมส์ นี้และจึงเป็นเหตุที่คลินตันมีคะแนนโวตมากกว่าทรัมส์แต่ไม่ได้เป็น ปธน.เพราะคนที่เป็น ปธน.ต้องได้คะแนนอิเลคโทรัลโวตเกิน270ไม่ใช่คะแนนโวตเกินครึ่งหนึ่งครับ..




ตอบกลับ


0

2


สมาชิกหมายเลข 1072913
7 ชั่วโมงที่แล้ว




ชีวิตไม่แน่นอน ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 1919692 ถูกใจ








ความคิดเห็นที่ 7







มองไปถึงตัวนโยบาย

ผมว่านโยบายของทรัมพ์
มีความเป็นรูปธรรม ชัดเจนในแนวทางกว่านะครับ

แต่ไม่เยอะขาดลอยเหมือนยุค ทักษิณและประชาธิปัตย์
ซึ่งตอนนั้น ประชาธิปัตย์ไม่มีทิศทางอะไรเด่นๆเลยนะ ตัวนโยบายเป็นนามธรรมแทบทั้งหมด
ยังกะลอกรัฐธรรมนูญมาซะงั้น
-----------------------------------------------------------------------

ข้อดีของนักธุรกิจคือ พวกเขาสามารถโฟกัสเป้าหมายได้แม่นยำ
มองเห็นรากเหง้าและรู้จุดที่จะต้องทำต้องแก้อย่างชัดเจน คือรู้วิธีเดินไปถึง
รู้วิธีการหาส่วนต่างๆมาเติมเต็มเส้นทางได้เก่งในระดับหนึ่งด้วยนะ

แต่เพราะงานใหญ่มันต้องมีตัวแปรเยอะ ก็อาจจะพลาดเรื่อง
กระบวนการส่วนยิบย่อยได้เหมือนกันนะ




ตอบกลับ


0

1


สมาชิกหมายเลข 3205841
7 ชั่วโมงที่แล้ว




ตกขอบ ถูกใจ








ความคิดเห็นที่ 8







อย่างที่ทุกคนอธิบาย ไปแล้ว


การเลือกตั้ง ครั้งนี้ สูสีจริงๆ คะแนน ออกมา ป๊อบปูล่าโหวต ต่างกัน 2แสนกว่าคะแนน แทบจะ 50/50 เลย
ดังนั้นมันถึงมีกระแสประท้วงตามมา..

แต่จุดที่ทรัมป์ชนะ ฮิลลารี

- คนอเมริกา ต้องการความเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนพรรค บริหารประเทศ
- ทรัมป์สามารถ ดึงคนผิวขาว วัย40up ให้ออกมาเลือกตัวเองได้สำเร็จ
- ฮิลลารี ประมาท จากการที่สื่อยกให้เป็นตัวเต็ง โพลก็นำ ดาราคนดังสนับสนุน ยิ่งทำให้ตัวเองมองการเลือกตั้งไม่ออก
และตัวฮิลลารีก็ไม่สามารถจูงใจ ทำให้คนรุ่นหนุ่มสาวที่สนับสนุนตัวเอง ออกมาเลือกตั้งได้...มากพอ
แบบที่ทรัมป์ทำได้กับคนผิวขาว40up ของอเมริกา
แก้ไขข้อความเมื่อ 7 ชั่วโมงที่แล้ว




ตอบกลับ


0

0


ตะวันรุ่งทุ่งรังสิต
7 ชั่วโมงที่แล้ว
ภาพประจำตัวสมาชิก
ple
Administrator
โพสต์: 1774
ลงทะเบียนเมื่อ: 31 ธ.ค. 2013 11:54
ที่อยู่: 55/126 หมู่บ้านโกลเดนอเวนิว ซอยประชาสุขสรรค์3 ถนนติวานนท์ นนท์บุรี
ติดต่อ:

Re: ระบบการเลือกตั้งของ สหรัฐอเมริกา

โพสต์ โดย ple »

:D
ความเป็นมาเป็นไปของการเลือกตั้งสหรัฐ #Election2016

รูปภาพ

ขออธิบายระบบเลือกตั้งเมกานิดครับ บางคนยังเข้าใจว่าให้ สส.กับ สว.เป็นคนเลือก จริงๆแล้ว สส.สว. นี้คนละส่วนกับคณะผู้เลือกตั้ง(อิเลคทอรัลโวต)ถึงเเม้จำนวนสส.และสว.จะเท่ากันกับ จำนวนคณะผู้เลือกตั้ง สส.438(แบงเขตตามจำนวนประชากร) สว.100(รัฐละ2คน)คือ538คน ยกตัวอย่าง รัฐ ฟอริด้ามีคณะผู้เลือกตั้ง29คน มี สส.27คน มีสว.2คน สองพรรคนี้ก็จะส่งรายชื่อ คณะผู้เลือกตั้ง29คน สส.27คนสว.2คนอนึ่งลองสังเกตุดู จำนวนคณะผู้เลือกตั้ง สส.และสว.ของพรรครีพับรีกันได้239+51เท่ากับ290แต่คะแนอิเลคโทรัลน่าจะ306.ซึ้งมันจะไม่เท่ากันครับ ป.ล. สส.เมกามีวาระ4ปีแตะสว.มีวาระ6ปี

ถ้าอธิบายง่ายๆตามที่ผมเข้าใจก็ประมาณว่า ชาวอเมริกันจะเลือกผู้แทนในแต่ละรัฐ (Electoral College) ไปเลือกประธานาธิบดีครับ
ในแต่ละรัฐจะมีผู้แทนตามแต่ละจำนวนที่ไม่เท่ากัน (น้อยสุด 3 มากสุด 55) โดยในสหรัฐอเมริกามีคะแนนจากผู้แทนของรัฐ (Electoral Vote) ทั้งหมด 538 เสียง

แล้วทีนี้จะรู้ได้อย่างไรว่าแต่ละรัฐจะไปเลือกใครเป็นประธานาธิบดี ซึ่งจะดูจากคะแนนการเลือกตั้งจากประชาชนทั่วไป (Popular Vote) ครับ ถ้า Popular Vote ในรัฐนั้นเลือกพรรคไหนมากที่สุด จำนวนผู้แทนในรัฐนั้นก็จะไปเลือกประธานาธิบดีตาม Popular Vote

ยกตัวอย่าง : รัฐแมสซาชูเซตส์ มี Electoral Vote อยู่ 11 เสียง
ในการเลือกตั้งประธานาธิบดีปีนั้น ประชาชนในรัฐแมสซาชูเซตส์เลือกพรรค Democrat เป็นอันดับ 1 แล้วผู้แทนของรัฐแมสซาชูเซตส์ที่มี 11 เสียงนั้นก็จะเอาคะแนนทั้งหมดไปลงกับพรรค Democrat (พรรคไหนได้ก็เอาไปลงหมดทั้ง 11 เสียง ไม่มีแบ่งให้พรรคอื่นครับ ถึงแม้จะเฉือนกันแค่ 0.001% ก็ตาม)

แล้วทีนี้ก็เอา Electoral Vote ของแต่ละรัฐในสหรัฐอเมริกามารวมกัน ใครได้มากกว่า 270 คนนั้นได้เป็นประธานาธิบดีไป

เท่าที่ผมเข้าใจก็ประมาณนี้ครับ ถ้าอธิบายงงไปหรือข้อมูลผิดพลาดต้องขออภัยด้วยครับ

หมายเหตุ : คณะผู้เลือกตั้ง (Elector) ไม่ใช่ ส.ส. (MP) หรือ ส.ว. (Senator) แต่อย่างใดครับ
ภาพประจำตัวสมาชิก
ple
Administrator
โพสต์: 1774
ลงทะเบียนเมื่อ: 31 ธ.ค. 2013 11:54
ที่อยู่: 55/126 หมู่บ้านโกลเดนอเวนิว ซอยประชาสุขสรรค์3 ถนนติวานนท์ นนท์บุรี
ติดต่อ:

Re: ระบบการเลือกตั้งของ สหรัฐอเมริกา

โพสต์ โดย ple »

Donald Trump ชนะ Electoral College แน่นอนแล้ว แต่แพ้ Popular Vote?

รูปภาพ

อาจจะเหมือนสมัย Al Gore - George W Bush ทันที

เข้าใจว่าระบบนี้ จะทำให้รัฐเล็กๆ มีความสำคัญมากขึ้น เมื่อเทียบกับ รัฐใหญ่ๆ ซึ่งจะทำให้เหมือนมีคะแนนเสียงมีความสำคัญน้อยลง แต่ก็ไม่จริง เพราะอย่างถ้าได้รัฐ California รัฐเดียว ก็เหมือนได้คะแนนเกือบ 10%

ซึ่งเหตุผลที่ผล Popular Vote เป็นแบบนี้ น่าจะเป็นเพราะคะแนน Hillary ที่ไปเฝ้อที่รัฐประชากรเยอะอย่าง California ที่คะแนนนำห่างสูงกว่า เมื่อเทียบกับของ Trump ที่ Margin แต่ละที่ที่ชนะ ต่างกันไม่เยอะมาก

และ County ที่ฮิลลารี่ชนะ ส่วนใหญ่ก็จะเป็นหัวเมืองใหญ่ทั่งนั้น ผลแบบนี้มันคล้ายประเทศไหนมั๊ย?

แล้วอย่างนี้จะเรียกว่าการเลือกตั้งของสหรัฐอเมริกานั้น ยุติธรรมหรือไม่? ลองมาคุยกันค่ะ
ภาพประจำตัวสมาชิก
ple
Administrator
โพสต์: 1774
ลงทะเบียนเมื่อ: 31 ธ.ค. 2013 11:54
ที่อยู่: 55/126 หมู่บ้านโกลเดนอเวนิว ซอยประชาสุขสรรค์3 ถนนติวานนท์ นนท์บุรี
ติดต่อ:

Re: ระบบการเลือกตั้งของ สหรัฐอเมริกา

โพสต์ โดย ple »

ยุติธรรมมั๊ย น่าจะขึ้นกับว่าก่อนเลือกตกลงกติกากันไว้ว่ายังไง ถ้าทุกฝ่ายโอเคกับกติกาว่าอาจจะชนะ Popular vote แต่แพ้ Electoral vote ก็น่าจะถือว่ายุติธรรม

จริงๆ US election ก็เป็นแบบนี้มานานแล้ว คนในเมืองใหญ่เลือกเดโมแครต นอกเมืองใหญ่เลือกรีพับลิกัน

เดโมแครตจริงๆได้เปรียบเยอะนะ เอาแค่ CA NY IL รัฐที่มีเมืองใหญ่ๆ ก็ได้ไปเป็นร้อยแล้ว

ของรีพับลิกันตัวหลักมีแค่ TX ต้องไปเก็บรัฐย่อยๆ + Swing States

ซึ่งมันสนุกตรงลุ้น Swing States เนี่ยแหละ ปีนี้ลุ้น FL PA MI สนุกมาก สูสีสุดๆ

Florida นี่แน่นอนจริงๆ ตัวแปรสำคัญ คนฟลอริด้าน่าจะภูมิใจ เป็นรัฐที่กำหนดชะตาชีวิตประเทศเลย




ตอบกลับ


0

6


นักมายากลแห่งรัสเซีย
17 ชั่วโมงที่แล้ว




สมาชิกหมายเลข 860126 ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 1009175 ถูกใจ, REDBULLRUN ถูกใจ, แฟนกัปตันอเมริกา ถูกใจ, สมาชิกหมายเลข 3514846 ถูกใจ, MorganJ ถูกใจ








ความคิดเห็นที่ 2







เอาจริงระบบการเลือกตั้งของอเมริกานี่หลายๆอย่างก็เป็นเรื่องเฉพาะตัวครับ อย่างจำนวน Elector นั้นแม้จะมีที่มาจากจำนวนประชากร แต่เพื่อการให้รัฐเล็กได้มีความสำคัญต่อผู้สมัครแล้วก็จึงมีการเพิ่มจำนวน Elector ให้รัฐละ 2 คน ส่งผลให้อัตราส่วนประชากรต่อจำนวน Elector ในรัฐเล็กนั้นมีน้อยกว่ารัฐใหญ่

ถ้าว่ากันตามตรงมันก็อาจไม่ยุติธรรมที่รัฐเล็กได้อัตราส่วน Elector ไปในจำนวนประชากรที่น้อยกว่ารัฐใหญ่ซึ่งดูแล้วขัดต่อหลักความเท่าเทียมกัน แต่มันก็ส่งผลอีกอย่างคือทำให้ผู้สมัครไม่สามารถละทิ้งรัฐเล็กไปให้ความสำคัญแต่รัฐใหญ่ได้




ตอบกลับ


0

3


zodiac28
16 ชั่วโมงที่แล้ว




Darkaneru ถูกใจ, ผึ้งน้อยพเนจร ถูกใจ, Life from Sun ถูกใจ








ความคิดเห็นที่ 3







ถ้าเลือกแบบไทยที่ใช้ ส.ส ยกมือ ก็แพัเหมือนเดิมครับ.ทรัมส์ได้239คลืนตันได้192.มีชนะอย่างเดียวคือคะแนนป๊อบปูล่านี้ละ




ตอบกลับ


0

0


สมาชิกหมายเลข 1072913
12 ชั่วโมงที่แล้ว













ความคิดเห็นที่ 4







ดูจำนวนพื้นที่คร่าวๆต่างกัน 1:3 เลย




ตอบกลับ


0

0


สมาชิกหมายเลข 3177166
11 ชั่วโมงที่แล้ว













ความคิดเห็นที่ 5







คลินตัน 232 ทรัมป์ 306 ห่างกัน 74 ถือว่าแพ้แบบไม่น่าเกลียด แพ้แบบสง่างาม และคุณป้ายังชนะ popular vote ด้วย (มีไม่กี่คนในประวัติศาสตร์ เพราะปกติคนแพ้ก็มักจะแพ้ทั้ง electoral และ popular แสดงว่าคนชอบป้าเยอะเหมือนกัน)

เทียบกับตอนโอบามา รอมนีย์ ปี 2012 ที่โอบามาชนะแบบขาดลอย คือ 332 รอมนีย์แพ้แบบขาดลอยคือ 206 ห่างกันถึง 124

เทียบกับตอนโอบามา แม็คเคน ปี 2008 โอบามาชนะแบบนอนมาสุดๆ คือ 365 แม็คเคนได้ 173 ห่างกันถึง 192

คนที่แพ้อย่างสง่างาม คือส่วนต่างไม่ห่างกันมากนัก เช่น อัล กอร์ (แพ้บุชไป 5 คะแนน ชนะป๊อบปูล่าด้วย) ฮิลลารี คลินตัน(แพ้ทรัมป์ไป 74 ชนะป๊อปปูล่าเช่นกัน) จอห์น เครี(แพ้บุชไป 35) ส่วนผู่แพ้คนอื่นๆ ก็มักจะแพ้แบบขาดลอยคือทิ้งห่างกันเป็นร้อยคะแนน
แก้ไขข้อความเมื่อ 11 ชั่วโมงที่แล้ว




ตอบกลับ


0

0


สมาชิกหมายเลข 1493609
11 ชั่วโมงที่แล้ว













ความคิดเห็นที่ 6







แต่แม้ฮิลลารี่จะชนะพ้อพพิวลาร์โหวต แต่...เธอชนะแค่ 0.2% เองนะครับ
แปลว่า "แพ้" อยุ่ดีครับ เดโมแครตอย่าเอามาอ้าง
เพราะ..รัฐที่เดโมแครตครอง เป็นรัฐใหญ่ประชากรมากทั้งนั้น แถมโพลล์ต่างๆยังให้ฮิลลารี่ชนะแบบ landslide
แต่ผลจริงออกมาเธอยังได้คะแนน popular รวมแค่ 47.9% ทรัมพ์ได้ 47.7%
แบบนี้ดูทรงแล้ว ชนะเหมือนแพ้ แล้วครับ




ตอบกลับ


0

0


ผึ้งน้อยพเนจร
11 ชั่วโมงที่แล้ว













ความคิดเห็นที่ 7







ต้องเข้าใจว่ามันเป็น "United States"
มันต้องถ่วงสมดุลระหว่าง คนที่ประชาชนส่วนใหญ่ต้องการ กับ คนที่แต่ละรัฐต้องการ เลยกำหนดกติกากันแบบนี้

มันก็ไม่ได้ยุติธรรม 100% หรอก แต่ดีที่สุดแล้ว
แก้ไขข้อความเมื่อ 10 ชั่วโมงที่แล้ว




ตอบกลับ


0

0


สมาชิกหมายเลข 1519832
11 ชั่วโมงที่แล้ว













ความคิดเห็นที่ 8







แพ้ 2-3แสน คะแนน ไม่ใช่ปัจจัยเลย...

คะแนน แบบนี้ ดีอย่างนึง ทำให้ผู้ชนะหรือผู้แพ้ ที่ได้เป็นปธ. รู้ตัวเอง ว่าประชาชน ชอบมากน้อยแค่ไหน

พอมารับตำแหน่ง แล้ว ก็จะต้องยิ่งทำผลงาน ให้คะแนนนิยม เพิ่มขึ้น เพราะถ้าบริหารไม่ดี เสียงลด จะยิ่งลำบาก
ตอบกลับโพส